Skip to main content

WI-DS-12 คู่มือมาตรฐานปฏิบัติงานพนักงานขับรถ

 

มาตรฐานบังคับการขนส่งทางบก

ข้อมูล : กรมการขนส่งทางบกกรมการขนส่งทางบก

               ลงนามความร่วมมือกับสหพันธ์การขนส่งทางบกแห่งประเทศ ไทย และ สมาคมผู้ประกอบการธุรกิจวัตถุอันตราย หวังสร้างมาตรฐานด้านรถบรรทุก น าไปสู่ภาคปฏิบัติอย่างจริงจังร่วมก าหนดบทบัญญัติ 10 ประการพร้อมคุมเข้มเน้น เรื่องของความปลอดภัยมี ดังนี้
1. ห้ามใช้รถขับรถที่ไม่มีใบอนุญาตขับรถ หรือถูกพักใช้เพิกถอนใบอนุญาตขับรถ มาตรา 32 (6)ประกอบมาตรา 131 ปรับไม่เกิน 50,000 บาท
2. ห้ามใช้ผู้ขับรถขับรถติดต่อกันนานเกินกว่าที่กฎหมายกำหนด ในรอบยี่สิบสี่ชั่วโมง ให้ผู้ขับรถ 1 คน ขับรถติดต่อกันไม่เกินสี่ชั่วโมง เว้นแต่ได้พัก ติดต่อกัน 
    เป็นเวลาไม่น้อยกว่าครึ่งชั่วโมง ก็ให้ปฏิบัติหน้าที่ขับรถต่อไปได้อีก ไม่เกินสี่ชั่วโมงติดต่อกัน (มาตรา 32(6) ประกอบมาตรา 131 ปรับไม่เกิน 
    50,000บาท
3. ควบคุมดูแลไม่ให้ผู้ขับรถเสพสุรา ยาเสพติดหรือวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและ ประสาทขณะปฏิบัติหน้าที่ขับรถ มาตรา 40 ทวิ ประกอบมาตรา 138 ทวิจ
    จำคุกไม่เกิน 2 ปีหรือปรับไม่เกิน 40,000 บาทหรือทั้งจ าทั้งปรับ
4. ควบคุมดูแลให้ผู้ขับรถใช้ความเร็วตามที่กฎหมายกำหนด และขับชิดขอบทาง ด้านซ้าย มาตรา 32(6) ประกอบมาตรา 131 ปรับไม่เกิน 50,000 บาท 
5. จัดทำประวัติคนขับรถและรายงานอุบัติเหตุ (ถ้ามี) มาตรา 35 ประกอบมาตรา 131 ปรับไม่เกิน 50,000 บาท
6. ไม่ใช้รถไม่จดทะเบียนเสียภาษี หรือมีสภาพไม่มั่นคงแข็งแรง หรือเครื่อง อุปกรณ์และส่วนควบไม่ถูกต้อง มาตรา 71 ประกอบมาตรา 148 ปรับไม่เกิน
     50,000 บาท
7. จัดให้มีป้ายสะท้อนแสงหรือไฟกระพริบสำหรับใช้เมื่อรถเสีย มาตรา 71 ประกอบมาตรา 148 ปรับไม่เกิน 50,000 บาท
8. ไม่บรรทุกน้ำหนักเกินกว่าที่กฎหมายกำหนด มาตรา 32 (3) ประกอบมาตรา 131 ปรับไม่เกิน50,000 บาท
9. รถบรรทุกวัตถุอันตรายต้องติดตั้งระบบ GPS มาตรา 32 (6) ประกอบมาตรา 131 ปรับไม่เกิน50,000 บาท
10.รถบรรทุกตู้คอนเทนเนอร์ต้องใช้อุปกรณ์สำหรับยึดตรึงตู้คอนเทนเนอร์(TWIST LOCK) มาตรา71 ประกอบมาตรา 148 ปรับไม่เกิน 50,000 บาท
       - พนักงานขับรถจะต้องปฏิบัติตามด้านการจอดรถที่กฎหมายกำหนด ด้านรถบรรทุกลักษณะการวางกรวยสะท้อนแสงห่างจากรถ 50 เมตรทุกครั้งที่ จอดรถบนไหล่ทางเพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ
       - พนักงานขับรถจะต้องแจ้งการจอดรถพักรถมาที่ศูนย์ Call Center ในกรณีจอด พักระหว่างทางด้านขนส่งต้องแจ้งสถานที่จุดพักรถให้ศูนย์ Call Centerทราบ ทุกครั้ง 

ข้อห้ามของพนักงานขับรถที่ไม่พึงกระทำเพื่อความปลอดภัย
1. ขณะขับรถไม่ควรใช้โทรศัพท์ห้ามใช้โทรศัพท์ทุกกรณีไม่โทร ไม่รับขณะขับรถจะช่วยทำให้ไม่มีสมาธิในการขับ มากยิ่งขึ้น แม้จะเป็นไปได้ยากที่จะไม่รับ
    ไม่โทรศัพท์แต่อย่างน้อยถ้าต้องใช้โทรศัพท์ควร จะมี Small Talk เพื่อช่วยให้การขับขี่รถ

image.png

2. ง่วง อย่ำขับ เมา อย่า ขับ หากสภาพร่างกายไม่พร้อมไม่ควรขับรถเด็ดขาดเพราะในแต่ละปีมีผู้เสียชีวิตจาก อุบัติเหตุปีละกว่า 14,000 คน ในจำนวน นี้
    เป็นผู้เสียชีวิตจากการง่วงแล้วขับหลับในมากถึง 2,800 คน คิดเป็นประมาณร้อยละ 20 ของอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น มูลค่าความ เสียหายมากถึงปี
    ละกว่า 20,000 ล้านบาท อุบัติเหตุที่เกิดจากการหลับในค่อนข้างรุนแรงจากคนหลับในขาดสติ ไม่รู้ตัว

image.png

3. ห้ามเลี้ยวกะทันหัน การไม่ให้สัญญาณไฟในการขับรถตัวอย่างการขับรถออกจากที่จอด, จอดรถ, กลับ รถหรือการเลี้ยว ถ้าละเลยการให้สัญญาณไฟจะ
    ทำให้รถคันอื่นมองไม่เห็นรถ โดยไม่คำนึงถึงผู้ที่ขับตามมา รถคันไหนที่ใช้ความเร็วก็อาจเกิดอุบัติเหตุซ้ำซ้อน อาจถึงชีวิตและ เดือดร้อนต่อผู้อื่น

image.png

4. ห้ามปาดแซงบริเวณคอสะพาน-จุดตัดหรือจุดกลับรถ การรอกลับรถนานขึ้นอยู่กับพฤติกรรมของคนขับรถ เช่น การไม่ต่อแถว (เสียเวลา) ปาด แซง แทรก
    พฤติกรรมเหล่านี้อาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุบนถนนได้

w644.jpg

5. ห้ามขับคร่อมเลน หลีกเลี่ยงพฤติกรรมขับรถที่เปลี่ยนเลนซ้ายบ้างขวาบ้างหรือคร่อมเลน ผู้ใช้ถนน คนอื่นที่ขับตามหลังมาก็สับสนไม่รู้ว่าจะไปทาง
    ไหนอาจท าเกิดอันตรายตามมาโดยไม่ คาดคิดก็เป็นได้

1442199607-vlcsnap201-o.jpg

6. ห้ามขับรถจี้หลังคันหน้า การขับรถให้ปลอดภัยต้องเว้นระยะให้ห่างเพียงพอเพราะรถไม่สามารถเริ่มเบรกได้พร้อมคันหน้า ทันทีที่คันหน้าเบรกความเร็วก็
    จะลดลงกะทันหันแต่รถยังเคลื่อนที่ด้วย ความเร็วคงที่ก็จะเกิดการพุ่งชนเข้าใส่ท้ายรถคันหน้าเป็นอุบัติเหตุที่พบเห็นได้บ่อย

05ea9e3d-8668-44f0-9fe9-ebb7ef062eac.jpg

7. ห้ามเปลี่ยนเลนโดยไม่ให้สัญญาณ ทุกครั้งเมื่อจะต้องออกจากที่จอด, กลับรถ หรือการเลี้ยวซ้ายเลี้ยวขวา ส่วนใหญ่ มักละเลยการให้สัญญาณให้รถคันอื่น
     มองเห็นโดยไม่ค านึงถึงผู้ที่ขับตามมา กรณีรถคัน หลังที่ขับตามมาด้วยความเร็วอาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุร้ายแรงได้
8. ห้ามจอดในที่ห้ามจอด การจอดรถในที่ห้ามจอดหากผู้ขับขี่จอดรถตามลักษณะต้องห้าม 15 ลักษณะจะมีความผิด ซึ่งตาม พรบ.จราจรทางบก พ.ศ. 2522
     มาตรา 57 ก าหนดว่าห้ามผู้ขับขี่จอด รถในที่ห้ามจอดมีดังต่อไปนี้
     1) บนสะพานหรืออุโมงค์
     2) ในทางร่วมทางแยก หรือในระยะ 10 เมตร จากทางร่วมทางแยก
     3) ห้ามจอดในทางข้ามหรือในระยะ 3 เมตรจากทางข้าม
     4) ห้ามจอดรถในเขตที่มีเครื่องหมายจราจรห้ามจอดรถ
     5) ห้ามจอดรถ ในระยะ 3 เมตร จากท่อน ้าดับเพลิง
     6) ห้ามจอดรถในระยะ 10 เมตร จากที่ดินตั้งสัญญาณจราจร
     7) ห้ามจอดในระยะ 15 เมตรจากทางรถไฟผ่าน
     8) ห้ามจอดซ้อนกันกับรถอื่นที่จอดอยู่ก่อนแล้ว
     9) ห้ามจอดรถตรงปากทางเข้าออกของอาคารหรือทางเดินรถหรือในระยะ 5 เมตร จากปากทางเดินรถ
    10) ห้ามจอดรถในระหว่างเขตปลอดภัยกับขอบทางหรือในระยะ 10 เมตร นับจากปลายสุดของเขตปลอดภัยทั้งสองข้าง
    11) ห้ามจอดรถในที่คับขัน
    12) ห้ามจอดรถในระยะ 15 เมตร ก่อนถึงเครื่องหมายหยุดรถประจ าทางและให้จอด เลยเครื่องหมายไปอีก 3 เมตร
    13) ห้ามจอดรถในระยะ 3 เมตรจากตู้ไปรษณีย์
    14) ห้ามจอดรถในลักษณะกีดขวางการจราจรทั้งนี้หากผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามทั้ง 13 ข้อ ตามมาตรา 57 ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 500 บาท
          สามารถแจ้งไปที่สถานีต ารวจท้องที่ให้ด าเนินการ

คุณสมบัติของพนักงำนขบัรถ : Driver Qualification
         พนักงานขับรถมีบทบาทส าคัญที่ต้องท าหน้าที่ของตนเองและถือปฏิบัติตาม ขั้นตอนการทำงานด้วยความพร้อมความปลอดภัยสอดคล้องกับเงื่อนไขการส่งมอบสินค้า ตามมาตรฐานความปลอดภัยด้านขนส่งตามกฎระเบียบข้อบังคับของกฎหมาย ดังนั้น คุณสมบัติของพนักงานขับรถมี ดังนี้
1. พนักงานขับรถต้องมีอายุ 25-60 ปี และมีประสบการณ์ขับรถอย่างน้อย 2-3 ปีขึ้นไป
2. พนักงานขับรถจะต้องมีใบอนุญาตขับขี่ ตรงตามประเภทรถ ระบุวันเดือนปีที่อนุญาต วันหมดอายุ และได้รับการรับรองจากกรมการขนส่งทางบก 
3. พนักงานขับรถจะต้องผ่านการอบรมจาก กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ตามกฎหมาย กระทรวงแรงงาน (จากสถาบันที่ผ่านการอบรมจากกรมพัฒนาฝีมือ
     แรงงาน)
4. พนักงานขับรถจะต้องผ่านการตรวจสอบประวัติอาชญากรรมจาก กรมต ารวจเพื่อเป็นการยืนยันประวัติส่วนบุคคลก่อนเข้าปฏิบัติงาน
5. พนักงานขับรถจะต้องผ่านการตรวจสุขภาพประจำปี ตามกำหนดระยะเวลาและ ตรวจโรคที่เป็นอุปสรรคต่อการทำงานและการขับขี่มีการบันทึกและเก็บ
    รักษาผล การตรวจอย่างเป็นระบบ
6. พนักงานขับรถจะต้องมีเอกสารการเข้าทำงาน, บัตรประชาชน, สำเนาทะเบียน บ้าน, ใบขับขี่, รูปถ่ายและมีบุคคลรับรองการเข้าทำงาน
7. พนักงานขับรถที่อยู่ในช่วงทดลองงานจะต้องอยู่ภายใต้การก ากับดูแลของหัวหน้า งานและผ่านการทดสอบประเมินผลงานก่อนปฏิบัติหน้าที่
8. พนักงานขับรถจะต้องปฏิบัติงานร่วมกับหัวหน้าอย่างน้อย 7 วัน โดยหัวหน้า จะประเมินผลการปฏิบัติงานอีกครั้งก่อนการบรรจุงานเป็นพนักงานขับรถ
9. เมื่อพนักงานที่ผ่านการประเมินแล้วจะได้ลงปฏิบัติงานจริงและจะต้องถูก ประเมินจากลูกค้า โดยทางหน่วยงานจะต้องส่งใบประเมินให้กับลูกค้าผ่านทาง
     พนักงานขับรถ
10.พนักงานขับรถซึ่งผ่านการทดลองงานจะต้องทำการขึ้นทะเบียนเป็นพนักงาน ขับรถ โดยหน่วยงานทะเบียนขนส่งจะทำหน้าที่ในการขึ้นทะเบียนตาม
     แบบฟอร์มที่ก าหนดพร้อมทั้งออกบัตรประจ าตัวพนักงาน

1. การเตรียมความพร้อมของพนักงานขับรถ Driver Readiness Preparation
1.ความพร้อมด้ำนบุคคล (ตัวพนักงานขับรถ)
1) การแต่งกายด้วยเครื่องแบบตามที่บริษัทก าหนด สวมชุดสุภาพ ห้ามใส่กางเกง ขาสั้นหรือกางเกงขาดโดยเด็ดขาด
2) การสวมใส่อุปกรณ์เซฟตี้ครบชุด เช่น หมวกเซฟตี้และสายรัดคาง, แว่นตา เซฟตี้, รองเท้าเซฟตี้หัวเหล็ก, หน้ากากกรองฝุ่น, หมอนรองล้อ ด้านหน้าด้าน
    หลัง, เสื้อสะท้อนแสง
3) การให้ความร่วมมือการตรวจวัดไข้, การล้างมือด้วยเจลแอลกอฮอล์, การสุ่ม ตรวจวัดสารเสพติด
2. ความพร้อมของยานพาหนะ อุปกรณ์เครื่องมือ
1) พนักงานควบคุมรถจะต้องเช็คสภาพรถ (ตามใบเช็คลิส)
2) พนักงานควบคุมรถจะต้องเช็คอุปกรณ์ หางพ่วง (ตามใบเช็คลิส)
3) พนักงานควบคุมรถจะต้องเช็คอุปกรณ์ซฟตี้ เช่น สายรัด, ฉากกั้น,กรวย สะท้อนแสง, ที่หนุนล้อ, เสื้อ
สะท้อนแสง, แว่นตา, ผ้าปิดจมูก
4) พนักงานควบคุมรถจะต้องมีอุปกรณ์ให้ลูกค้าที่บังคับใช้อุปกรณ์ เช่นโรงงาน เคมี จะต้องมีปล่องคลุมท่อ
ไอเสียรถ, เสื้อแขนยาว, แว่นตากันสารเคมี, ถังดับเพลิง, ไม่ใช้เครื่องมือสื่อสารในโรงงาน

2. การตรวจสอบก่อนปฏิบัติงาน
1) พนักงานขับรถจะต้องมีความพร้อมด้านยานพาหนะและอุปกรณ์เซฟตี้
2) พนักงานขับรถจะต้องตรวจรอบรายการสินค้าและสินค้าให้ตรงกับที่ลูกค้าต้องการ
3) พนักงานขับรถจะต้องตรวจจำนวนสินค้า สภาพสินค้า บุบ แตกรั่วซึมของสินค้าให้ดำเนินการแจ้งหัวหน้างาน
4) พนักงานขับรถจะต้องทำการรัดสินค้าบนรถให้อยู่สภาพสมบูรณ์ไม่โยก ไม่เอียง วางให้ติดกันเพื่อการเดินทางและความปลอดภัยของสินค้า ถ่ายรูปการ
    รัด สินค้า 3 ด้านส่งในกลุ่มไลน์ก่อนนำรถออก
5) พนักงานขับรถจะต้องล็อคซีลประตูรถ ตามขั้นตอนการล็อคซีลและการเซ็นรับ การล็อคซีลประตูตู้เพื่อการป้องกันสินค้าสูญหาย
6) พนักงานขับรถจะต้องเช็คสภาพซีลกับลูกค้าและเช็คสภาพสินค้ากับลูกค้าและ เซ็นรับสินค้าในใบส่งสินค้าทุกครั้งและถ่ายรูปส่งข้อมูลเข้ากลุ่มไลน์
3. กำรตรวจสอบและเตรียมควำมพร้อมในปฏิบตัิงำนด้ำนส่งออก
1) พนักงำนขับรถจะต้องมีควำมรู้และควำมเข้ำใจกับงำนส่งออก
2) พนักงำนขับรถจะต้องปฏิบตัิงำนตำมใบสั่งงำนไปรับตูตำมลำนที่ก ำหนด หรือ ้ ตำมใบ Booking
3) พนักงำนขับรถจะต้องเช็คสภำพตู้เปล่ำก่อนน ำตู้ออกจำกลำนรับตู้เพื่อ ตรวจสอบสภำพตู้ตรงกบั ใบสั่งงำนก่อน
4) พนักงำนขับรถจะต้องตรวจเบอร์ตู้เบอร์ซีลให้ตรงกับใบ EIR แล้วถ่ำยรูปส่งข้อมูลในกลุ่มไลน์ เพื่อแจ้งหัวหน้ำ
ขนส่งเพื่อน ำไปท ำใบก ำกับเพื่อควำมถูกต้องใน ใบก ำกับ
5) พนักงำนขับรถจะต้องน ำตู้เข้ำบรรจุตำมวันเวลำกำรบรรจุ หรือรอบรรจุกำรน ำตู้บรรจุคืนตำมเวลำที่ก ำหนดตำม
ใบสั่งงำนตองปฏิบัติอย่ ้ ำงเคร่งครัด
6) กรณีบรรจุสินค้ำล่ำช้ำและคำดว่ำจะคืนตู้ไม่ทันตำมเวลำ Closing Time ให้พนักงำนขับรถแจ้งหัวหน้ำในกลุ่มไลน์
เพื่อจะได้แก้ไขปัญหำและ ประสำนงำนกับลูกค้ำล่วงหน้ำ
4. กำรตรวจสอบรถก่อนปฏิบตัิงำนเพื่อสงออก ่
1) พนักงานขับรถตู้ทึบหรือตู้คอนเทนเนอร์ (20F/40F) จะต้องมีการเช็คสภาพตู้ก่อนที่จะบรรจุสินค้าเพื่อ
น าไปส่งออก การเตรียมความพร้อม ความสะอาด อุปกรณ์รัดสายรัดมีเพียงพอ ฉากกั้นกันการกดทับมี
เพียงพอ
2) พนักงานขับรถจะต้องปฏิบัติตามใบสั่งงาน ประเภทสินค้า กล่อง พาเลท, ถัง, ถุงจัมโบ้แบ็ค และจะต้อง
เช็คสภาพสินค้าก่อนน าขึ้นรถ

3)
4) พนักงานขับรถก าหนดการวางสินค้าด้วยตนเอง เพื่อเป็นการวางให้น หนัก รถสมดุลและสามารถรัดสาย
รัดตรงจุดรัดเป็นการป้องกันสินค้าเสียหาย
4)6) พนักงานขับรถจะต้องถ่ายรูปการรัดสินค้า การล็อคซีล มายังกลุ่มไลน์เพื่อเป็นการยืนยันการส่งมอบ
ต่อไป



อปฏิบตัิในกำรส่งมอบสินค

ำ : Cargoes delivery practice
1. พนักงานขับรถบรรทุกต้องตรวจสินค้าสภาพภายนอกที่สามารถมองเห็น ด้วยสายตาปกติ ได้แก่ กล่อง
พาเลท แพ็คเก็จสินค้าว่ามีความสมบูรณ์ปลอดภัยในการขนส่งหรือไม่
2. หากพบสินค้าโยกเอียงหรือไม่พาเลทช ารุดต้องแจ้งหัวหน้าขนส่งเพื่อแจ้งผู้เกี่ยวข้องไปถึงสภาพหีบห่อ
ด้านนอก เช่น กล่อง ถุง ให้อยู่ในสภาพดี สะอาด อย่างสมบูรณ์และไม่มีรอยเปิดหรือฉีกขาด (กรณีมีเอกสาร
Check list ให้ท า การตรวจสอบความถูกต้องตามที่ก าหนดไว้)
3. กรณีสินค้าเป็นกล่อง หรือ ถุง ขณะจัดเรียงสินค้าบนรถพนักงานขับรถจะต้องดูการขึ้นสินค้าด้วยทุกครั้ง
ห้ามจอดรถทิ้งไว้โดยเด็ดขาดเมื่อพบปัญหาจะด าเนินการแจ้งผู้ที่เกี่ยวข้องทันที
4.7) พนักงานขับรถบรรทุกต้องตรวจสอบน หนักสินค้าร่วมกับลูกค้าให้ตรงตาม กฎหมายมาตรฐานความ
ปลอดภัยของกรมการขนส่งทางบก เช่น รถ 6 ล้อรับ
     บรรทุกสินค้าไม่เกิน 5 ตัน, รถ 4 ล้อ รับบรรทุกสินค้า
ไม่เกิน 1 ตัน
5.8). พนักงานขับรถบรรทุกต้องปฏิบัติงานร่วมกับลูกค้าในการจัดเรียงสินค้าบนรถบรรทุก จะต้องจัดเรียงให้
ชิดติดกัน เพื่อความปลอดภัยและป้องกันสินค้าลื่น



อปฏิบตัิในกำรส่งมอบสินค

ำ : Cargoes delivery practice
1. พนักงานขับรถบรรทุกต้องตรวจสินค้าสภาพภายนอกที่สามารถมองเห็น ด้วยสายตาปกติ ได้แก่ กล่อง
พาเลท แพ็คเก็จสินค้าว่ามีความสมบูรณ์ปลอดภัยในการขนส่งหรือไม่
2. หากพบสินค้าโยกเอียงหรือไม่พาเลทช ารุดต้องแจ้งหัวหน้าขนส่งเพื่อแจ้งผู้เกี่ยวข้องไปถึงสภาพหีบห่อ
ด้านนอก เช่น กล่อง ถุง ให้อยู่ในสภาพดี สะอาด อย่างสมบูรณ์และไม่มีรอยเปิดหรือฉีกขาด (กรณีมีเอกสาร
Check list ให้ท า การตรวจสอบความถูกต้องตามที่ก าหนดไว้)
3. กรณีสินค้าเป็นกล่อง หรือ ถุง ขณะจัดเรียงสินค้าบนรถพนักงานขับรถจะต้องดูการขึ้นสินค้าด้วยทุกครั้ง
ห้ามจอดรถทิ้งไว้โดยเด็ดขาดเมื่อพบปัญหาจะด าเนินการแจ้งผู้ที่เกี่ยวข้องทันที
4. พนักงานขับรถบรรทุกต้องตรวจสอบน ้าหนักสินค้าร่วมกับลูกค้าให้ตรงตาม กฎหมายมาตรฐานความ
ปลอดภัยของกรมการขนส่งทางบก เช่น รถ 6 ล้อรับ บรรทุกสินค้าไม่เกิน 5 ตัน, รถ 4 ล้อ รับบรรทุกสินค้า
ไม่เกิน 1 ตัน
5. พนักงานขับรถบรรทุกต้องปฏิบัติงานร่วมกับลูกค้าในการจัดเรียงสินค้าบนรถบรรทุก จะต้องจัดเรียงให้
ชิดติดกัน เพื่อความปลอดภัยและป้องกันสินค้าลื่น

6. พนักงานขับรถบรรทุกต้องตรวจเช็คใบส่งสินค้าว่าถูกต้องหรือไม่ เช่น สถานที่ ส่งสินค้า, จ านวนสินค้า
และตามเงื่อนไขที่ก าหนด
7.9). พนักงานขับรถบรรทุกต้องปิดประตูพร้อมล็อกกุญแจหรือซีล ครบทุกประตูให้เรียบร้อยก่อนเคลื่อนรถออก
จากพื้นที่
8.10).หากเกิดเหตุฉุกเฉินหรืออุบัติเหตุระหว่างการขนส่งพนักงานขับรถบรรทุก จะต้องรายงานปัญหาให้ทาง
บริษัทรับทราบทันที โดยรายงานมาที่หัวหน้า
       ขนส่งเพี่อรายงานปัญหาให้ผู้เกี่ยวข้องและลูกค้าทราบต่อไป
9.การติดตามสถานการณ์จัดส่งเพื่อการส่งมอบสินค้าได้ถูกต้องและทันเวลาที่ลูกค้าก าหนด บริษัทฯ มีระบบ
 GPSและกลุ่มไลน์ในการติดตามสถานการณ์
   จัดส่งสินค้า

ขนั้ ตอนปฏิบตัิกำรมำตรฐำนควำมปลอดภยัขนส่ง 10s Safety Standard Transport Manual
1.มำตรฐำนควำมปลอดภยัขนส่งตอ้งปฏิบตัิอย่ำงไร
มีการจัดตรวจสอบสภาพรถบรรทุกทุกคัน ก่อนปฏิบัติงานโดยมีแบบฟอร์ม “Check List” ตาม
ระยะเวลาตรวจสอบที่ชัดเจน
ด้านที่เกี่ยวกับความปลอดภัยของสินค้ามีระบบปฏิบัติการและการตรวจสอบในทุกขั้นตอนเกี่ยวข้อง
กับสภาพตู้คอนเทนเนอร์และขนส่งสินค้าด้วยรถเทรลเลอร์, รถตู้ทึบ, รถบรรทุกประเภทต่างๆ ส าหรับตู้ทึบ
และ ตู้คอนเทนเนอร์ก่อนที่จะน ามาบรรจุสินค้าจะต้องมีการตรวจสภาพตู้คอนเทนเนอร์ทั้งตู้ขาออกและตู้ขา
เข้าตามมาตรฐาน “7 POINT CHECKING” ซึ่งจะระบุว่าจะต้องตรวจ อะไรบ้าง
ตัวอย่ำง แบบฟอร์ม 7POINT CHECKING

2. หลักปฏิบัติ 10 ข้อของมาตรฐานความปลอดภัยขนส่งไล่เลียงมาตั้งแต่การรับ พนักงานขับรถเกี่ยวข้องกับ
คุณสมบัติพื้นฐานทั้งคนและอุปกรณ์ขนส่ง ประกอบด้วย
1 : ข้อปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของพนักงานขับรถและบุคคลที่ 3
2 : ข้อปฏิบัติของพนักงานขับรถภายใต้การเกิดอุบัติเหตุ
3 : การตรวจสอบสภาพรถบรรทุกเพื่อความปลอดภัย
4 : การตรวจสภาพตู้คอนเทนเนอร์เพื่อความปลอดภัย
5 : ข้อควรระวังความปลอดภัยการขนส่งสินค้าประเภทต่างๆ
6 : การปฏิบัติการขนส่งสินค้าอันตราย (Dangerous Goods)
7 : การป้องกันสินค้าเสียหายและสินค้าไม่ครบ
8 : การป้องกันโจรภัยและการขโมยสินค้า
9 : ปฏิบัติการขนส่งเพื่อสิ่งแวดล้อม
10: Call Center ศูนย์ควบคุมขนส่งอิเล็กทรอนิกส์เพื่อความปลอดภัย
กำรควบคุมขนส่งอิเลก

ทรอนิกส

เพื่อขนส่งตรงเวลำ
1.การควบคุมโดยทีมบุคลากรด้วยกลุ่มทีมไลน์เพื่อการประสานงานอย่างอัพเดท รวดเร็ว ตั้งแต่รับสินค้า
ตลอดจนถึงลุกค้ารับสินค้าอย่างปลอดภัย
2.การรับแจ้งเหตุและหรือสอบถามข้อมูลมีพนักงานดูแลติดตามเส้นทางเดินรถ ด้วยระบบ GPS และเฝ้าระวัง
ระยะทางและเวลาที่รถจะต้องไปรับตู้การบรรจุตู้และส่งคืนตู้สินค้าให้ทันกับเวลาปิดรับตู้ “CLOSING TIME”
ของ สายการเดินเรือหรือโดยมีพนักงานท างานตลอด 24 ชั่วโมง
3.เป็นศูนย์ประสานงานรับแจ้งอุบัติเหตุฉุกเฉินทุกกรณี
4.รับแจ้งค่าใช้จ่ายพิเศษต่างๆ และเหตุผิดปกติโดยจะประสานกับทุกฟังก์ชั่นที่ เกี่ยวข้อง เช่น ฝ่ายบริการ
ลูกค้าและลูกค้า

ขนั้ ตอนกำรทำ งำนของเจ้ำหน้ำที่ติดตำมสถำนะรถขนส่ง
เมื่อเจ้าหน้าที่ขนส่งส่วนงานจัดรถได้รับใบจองรถจากหน่วยงานบริการลูกค้า (Customer Service)
และท าการจองงานไปยังรถขนส่งเรียบร้อยแล้วนั้น เจ้าหน้าที่ จัดรถจะต้องด าเนินการใส่รายละเอียดข้อมูล
งานต่อไปโดย รายละเอียดขั้นตอนมีดังนี้
1. ข้อปฏิบัติของเจ้าหน้าที่บริการลูกค้าขนส่ง CST : Customer Service Transport มีดังนี้
(1) ระบุเลขที่จัดรถขนส่งที่ขึ้นต้นด้วย BTและลงรายละเอียด ประเภท ขนาดรถ
(2) เมื่อจองรถเรียบร้อยแล้วให้ส่งข้อมูลต่อไปยังเจ้าหน้าที่ติดตามรถขนส่ง
2. การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ติดตามสถานะรถขนส่ง โดยเมื่อได้ข้อมูลจาก เจ้าหน้าที่บริการลูกค้า
(Customer Service) กลุ่มขนส่งแล้วให้ด าเนินการ ตรวจสอบข้อมูลว่าครบถ้วนหรือไม่รายละเอียดดังนี้
(1) ขนาดตู้ (2) STATUS (3) ชื่อลูกค้า (4) JOB NO.(5) เบอร์ตู้, เบอร์ซีล (6) ชื่อขนส่ง
(7) ทะเบียนรถ (8) ชื่อคนขับรถ (9) เบอร์โทรศัพท์คนขับรถ (10) วันเวลาที่ก าหนดส่งสินค้า
3. รายละเอียดการบันทึกข้อมูลรถขนส่งของเจ้าหน้าที่ติดตามสถานะรถขนส่ง มีดังนี้
(1) งานน าเข้าด าเนินการติดตามรถดังนี้
1.1 เวลาที่ลงสินค้าเสร็จ 1.2 เวลาที่รถออกจากโรงงานลูกค้า 1.3เวลาที่คืนตู้เปล่าเสร็จ
1.4 เวลาที่เข้ารับสินค้า 1.5 เวลาที่ได้รับสินค้าออกจากท่า 1.6 เวลาที่รถเข้าถึงโรงงานลูกค้า
1.7 เวลาที่เริ่มลงสินค้า
(2) งานส่งออก ด าเนินการติดตามรถดังนี้
วันเวลาที่รถเข้าไปรับตู้เปล่า
วันเวลาที่ออกจากลานรับตู้เปล่า
วันเวลาที่เข้าโรงงานลูกค้า
วันเวลาที่เริ่มบรรจุ
วันเวลาที่บรรจุเสร็จ



อปฏิบตัิในกรณีเกิดอุบตัิเหตุหร

อเหตุไม่คำดคิด
1. อุบัติเหตุเล็กน้อย ไม่มีผู้บาดเจ็บ รถไม่เสียหาย สินค้าไม่เสียหาย เมื่อพนักงานขับรถ เกิดอุบัติเหตุจาก
การขับขี่ให้ปฏิบัติดังนี้
1) ให้พนักงานแจ้งไปยังหัวหน้างานขนส่งและส่งรายละเอียดทางโปรแกรม Line Group ก่อนเพื่อแจ้ง
ประกันภัย
2) หัวหน้างานประเมินแล้วแจ้งบริษัทประกัน ให้ด าเนินการแจ้งไปยังประกันภัยให้มาประเมินความเสียหาย
และออกใบเคลม
3) ท ารายงานการเกิดอุบัติเหตุ
2. อุบัติเหตุมีผู้บาดเจ็บ รถเสียหาย สินค้าเสียหาย
1) ให้พนักงานแจ้งมายังหัวหน้างานขนส่งและส่งรายละเอียดทางโปรแกรม Line Group ก่อนเพื่อแจ้ง
ประกันภัย
2) แจ้งประกันภัยเพื่อส่งเจ้าหน้าที่มายังจุดเกิดเหตุ
3) แจ้งเจ้าหน้าที่ภาครัฐเพื่อด าเนินและควบคุมการจราจร
4) น าตัวผู้บาดเจ็บส่งโรงพยาบาลที่ใกล้เคียงเพื่อรักษาตัว
5) น าเอกสารพ.ร.บ. เพื่อติดต่อในเรื่องค่าใช้จ่ายในการรักษาพนักงานขับรถ
6) กรณีรถเสียหายให้เจ้าหน้าที่ประกันภัยประเมินและด าเนินการ
7) กรณีสินค้าเสียหาย
แจ้งไปยังลูกค้าให้ทราบและส่งเจ้าหน้าที่มาท าการตรวจสอบความเสียหาย ของสินค้า
ให้เจ้าหน้าที่ประกันท าการชี้แจงและสอบถามการเกิดอุบัติเหตุเพื่อเคลม ประกันสินค้าให้กับลูกค้า
ท ารายงานส่งลูกค้าเมื่อท าการเคลมเรียบร้อย
ติดตามค่าใช้จ่ายการเคลมให้กับลูกค้าจนแล้วเสร็จ